หลักในการพิจารณาพระผงสุพรรณ
1. รูปทรงของพระผงสุพรรณ มี รูปลักษณะดังนี้
• รูปทรงสามเหลี่ยม
• รูปทรงสี่เหลี่ยม
• รูปทรงห้าเหลี่ยม
2. ด้านหลังพระผงสุพรณลายมือด้านหลังใหญ่ลงอาคมที่เดียว เป็นลายมือผู้ทรงศีล ( ฤาษี )ถ้าลายมือใหญ่ถือว่า เป็นลายมือคนโบราณ และเป็นพระถึงยุค
3. ดินในการสร้างพระผงสุพรรณ ว่านส่วนผสม /มวลสารบังคับ เป็นการสร้างโดยฤาษี จะมีสูตร ที่ตรงกัน กับพระสกุลลำพูน เช่นเดียวกับพระรอด พระคง
4. แร่ดอกมะขาม มักจะปรากฏในกรณี ดินดิบ ( เผา ไม่สุก หรือดินศิลาธิคุณ )
5. ด้านหลังพระผงสุพรรณ จะมีรอยพับเข้ามา ประเภทของเนื้อพระ
6. วรรรสีของพระผงสุพรรณ /สีเขียว/สีดำ/สีใบลานแห้ง/สีดอกพิกุล/สีดอกพิกุลแห้งสีเขียว/สีน้ำตาล
7. ร่องศรขอบพระผงสุพรรณ มักจะปรากฏร่องสรด้านข้างองค์ พระแสดงความเหี่ยวย่นของเนื้อพระแสดงถึงอายุพระ ที่มีการหดตัวของมวลสารในองค์พระว่าด้วยทฤษฎี
8. ว่านหลุด/แร่หลุด ในกรณี พระที่อยู่ในความชื้นใต้ดิน เนื้อพระจะเป็นรูพรุนเป็นจุดหนึ่งในการพิจารณาพระแท้ทำให้ทราบอายุพระโครงสร้างทางโมเลกุลเริ่มเสื่อสลายทางวิทยาศาสตร์
9. รอยตอกคัดด้านข้างพระผงสุพรรณ มีหลายลักษณะ แฉลบ / ตัดแบบเฉลียง
10. โซนเนื้อ หยาบ /ละเอียดแก่ว่าน การแบ่งโซนเนื้อพระผงสุพรรณแบ่งออกเป็น 2โซนเนื้อ
• โซนเนื้อหยาบจาการสันนิษฐานเนื้อหยาบเป็นการสร้างยุคแรก
• โซนเนื้อละเอียดเป็นจากการสันนิษฐานการสร้างยุคที่ 2
11. สิ่งแวดล้อมที่พบ/ส่วนที่มีความชื้นไม่มีความชื้นน้อย พระผงสุพรรณที่อยู่ในระดับความชื้นสูงใกล้ระดับน้ำใต้ดินแร่ธาตุในดินกัดผิวพระทำให้เกิดรูพรุน พระชนิดนี้เนื้อพระจะด้าน และสากมือ ส่วนพระที่ค้นพบในระดับดินชั้นบน เนื้อพระจะสวยมีความแห้ง สัมผัสด้วยมือผิวพระจะเกิดความมันวาว เกิดแผ่นฟิลม์ บนผิวพระ
12. ไข่ปลาในร่องลายมือ ซึ่งเกิดจากการอะตอมผสมกับออกซิเจน(ตามหลักวิทยาศาสตร์)
13. แผ่นฟิลม์ที่ปรากฏบนผิวพระ เมื่อสัมผัสด้วยมือ และ ปัดด้วยพุ่กันหูวัว
14. คราบรารัก/ลงรักปิดทอง
15. มวลสารบังคับที่พบ แร่ดอกมะขาม
16. ยุตของการสร้าง
จากวัตถุพยานที่พบ เนื้อหยาบแก่แร่ดอกมะขามสันนิบายนสร้างยุคแรก
เหตุผลพระเนื้อพระนี้ไปตรงกับเนื้อพระลำพูน ซึ่งฤาษีเป็นผู้สร้าง
เช่นเดียวกันตรงกับ บันทึก ในแผ่นลานทอง
ส่วนเนื้อละเอียดแก่ว่านสันนิฐานสร้างในยุคที่สอง
17. คราบกรุดินนวล/แคลเซี่ยม
18. โซนเนื้อพระผงสุพรรณ/แก่ว่าน/แก่แร่ดอกมะขาม
Cr. เก่ง กำแพง, wunjun.com
1. รูปทรงของพระผงสุพรรณ มี รูปลักษณะดังนี้
• รูปทรงสามเหลี่ยม
• รูปทรงสี่เหลี่ยม
• รูปทรงห้าเหลี่ยม
2. ด้านหลังพระผงสุพรณลายมือด้านหลังใหญ่ลงอาคมที่เดียว เป็นลายมือผู้ทรงศีล ( ฤาษี )ถ้าลายมือใหญ่ถือว่า เป็นลายมือคนโบราณ และเป็นพระถึงยุค
3. ดินในการสร้างพระผงสุพรรณ ว่านส่วนผสม /มวลสารบังคับ เป็นการสร้างโดยฤาษี จะมีสูตร ที่ตรงกัน กับพระสกุลลำพูน เช่นเดียวกับพระรอด พระคง
4. แร่ดอกมะขาม มักจะปรากฏในกรณี ดินดิบ ( เผา ไม่สุก หรือดินศิลาธิคุณ )
5. ด้านหลังพระผงสุพรรณ จะมีรอยพับเข้ามา ประเภทของเนื้อพระ
6. วรรรสีของพระผงสุพรรณ /สีเขียว/สีดำ/สีใบลานแห้ง/สีดอกพิกุล/สีดอกพิกุลแห้งสีเขียว/สีน้ำตาล
7. ร่องศรขอบพระผงสุพรรณ มักจะปรากฏร่องสรด้านข้างองค์ พระแสดงความเหี่ยวย่นของเนื้อพระแสดงถึงอายุพระ ที่มีการหดตัวของมวลสารในองค์พระว่าด้วยทฤษฎี
8. ว่านหลุด/แร่หลุด ในกรณี พระที่อยู่ในความชื้นใต้ดิน เนื้อพระจะเป็นรูพรุนเป็นจุดหนึ่งในการพิจารณาพระแท้ทำให้ทราบอายุพระโครงสร้างทางโมเลกุลเริ่มเสื่อสลายทางวิทยาศาสตร์
9. รอยตอกคัดด้านข้างพระผงสุพรรณ มีหลายลักษณะ แฉลบ / ตัดแบบเฉลียง
10. โซนเนื้อ หยาบ /ละเอียดแก่ว่าน การแบ่งโซนเนื้อพระผงสุพรรณแบ่งออกเป็น 2โซนเนื้อ
• โซนเนื้อหยาบจาการสันนิษฐานเนื้อหยาบเป็นการสร้างยุคแรก
• โซนเนื้อละเอียดเป็นจากการสันนิษฐานการสร้างยุคที่ 2
11. สิ่งแวดล้อมที่พบ/ส่วนที่มีความชื้นไม่มีความชื้นน้อย พระผงสุพรรณที่อยู่ในระดับความชื้นสูงใกล้ระดับน้ำใต้ดินแร่ธาตุในดินกัดผิวพระทำให้เกิดรูพรุน พระชนิดนี้เนื้อพระจะด้าน และสากมือ ส่วนพระที่ค้นพบในระดับดินชั้นบน เนื้อพระจะสวยมีความแห้ง สัมผัสด้วยมือผิวพระจะเกิดความมันวาว เกิดแผ่นฟิลม์ บนผิวพระ
12. ไข่ปลาในร่องลายมือ ซึ่งเกิดจากการอะตอมผสมกับออกซิเจน(ตามหลักวิทยาศาสตร์)
13. แผ่นฟิลม์ที่ปรากฏบนผิวพระ เมื่อสัมผัสด้วยมือ และ ปัดด้วยพุ่กันหูวัว
14. คราบรารัก/ลงรักปิดทอง
15. มวลสารบังคับที่พบ แร่ดอกมะขาม
17. คราบกรุดินนวล/แคลเซี่ยม
18. โซนเนื้อพระผงสุพรรณ/แก่ว่าน/แก่แร่ดอกมะขาม
Cr. เก่ง กำแพง, wunjun.com